การให้ไม่ว่าจะมากหรือน้อย ชื่อว่าเป็นการเสียสละที่ดีแล้ว

การให้ไม่ว่าจะมากหรือน้อย ชื่อว่าเป็นการเสียสละที่ดีแล้ว

อวิวาทญฺจ เขมโต อ่านว่า อะวิวาทัญจะ เขมะโต ——————— มงคลที่ ๑๕ การให้ทาน ทานัญจะ ๏ ควรบำเพ็ญ ซึ่งทาน คือการให้ ท่านว่าไว้ สวยงาม สามสถาน หนึ่งให้ของ สองธรรมะ ชนะมาร […]

สิ่งทั้งหลาย มีใจเป็นผู้นำ

สิ่งทั้งหลาย มีใจเป็นผู้นำ

มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา อ่านว่า มะโนปุบพังคะมา ธัมมา ——————————— ทุกสิ่งเป็นไปตามอำนาจแห่งใจ ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ทุกสิ่งสำเร็จด้วยใจ มนุษย์ต้องไปเกิดเป็นสัตว์ก็เพราะอำนาจแห่งใจ มีเรื่องของพระภิกษุสำคัญองค์หนึ่งในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นพระอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ได้เล่าไว้และมีผู้นำมาเขียนให้ได้อ่านกันต่อมา ท่านเล่าว่า ท่านต้องไปเกิดเป็นไก่หลายชาติ เหตุเพราะมีใจผูกพันในแม่ไก่ กว่าจะรอดกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ก็นานนักหนา ต่อมาเมื่อได้มาเกิดเป็นมนุษย์ ได้ปฏิบัติธรรมคำทรงสอนของสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า […]

ทานที่ให้แก่ผู้มีธรรม เป็นการดี

ทานที่ให้แก่ผู้มีธรรม เป็นการดี

ธมฺมลทฺธสฺสปิ สาหุ ทานํ อ่านว่า  ธัมมะลัทธัสสะปิ สาหุ ทานัง   วิธุรชาดก ในเมืองอินทปัตต์ แคว้นกุรุ พระราชาทรงพระนามว่า ธนัญชัย ทรงมีนักปราชญ์ประจำราชสำนักชื่อว่า วิธุร วิธุรเป็นผู้มีวาจาฉลาดหลักแหลม เมื่อจะกล่าวถ้อยคำสิ่งใดก็สามารถทำให้ผู้ฟังเกิดความเลื่อมใสครัทธราและ ชื่นชมยินดีในถ้อยคำนั้น ในครั้งนั้นมีพราหมณ์อยู่ 4 […]

วันคืน ไม่ควรให้ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์

วันคืน ไม่ควรให้ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์

รตฺโย อโมฆา คจฺฉนฺติ อ่านว่า รัตโย อโมฆา คัจฉันติ   อย่าทะเลาะกันเลย ใจแคบ เสียเวลาเปล่า คุณไม่ขึ้นรถ คุณจะเดินไปทางนั้นคุณลำบากแน่ คุณขึ้นรถดีกว่าไหม แต่รถนี้ไม่ได้ติด “ตราพุทธ” เลยนะ แต่ขับไปเราไปแวะวัดพุทธได้ไหม? ได้!! แต่ขึ้นอยู่กับว่า […]

คนมีสติ ย่อมประสบความสุข

คนมีสติ ย่อมประสบความสุข

สติมา สุขเมธติ อ่านว่า สติมา สุขะเมธะติ   พระอาจารย์เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย … ให้พากันสำรวจตรวจตราดู “อาการกาย อาการวาจา” ของตน แต่ละวันแต่ละคืนนะ ตนสำรวมแล้วด้วยดีหรือยัง อันนี้ก็นับว่าสำคัญอยู่ บางคนมันเผลอสติมาก […]

สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจ

สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจ

มนสฺส สติ ปฏิสรณํ อ่านว่า มนัสสะ สติ ปฏิสะระณัง ——————————— สังคหวัตถุ แปลว่า ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน เหมือนลิ่มสลักรถที่ตรึงตัวรถไว้มิให้ชิ้นส่วนกระจายไป […]

คนที่ขยัน วันแต่ละวันคือวันโชคดี

คนที่ขยัน วันแต่ละวันคือวันโชคดี

ตํ เว ภทฺเทกรตฺโตติ อ่านว่า ตัง เว พัดเทกะรัดโตติ “ความขยันหมั่นเพียร เป็นยอดแห่งธรรม” ” .. ความขยันหมั่นเพียร เป็นยอดแห่งธรรม คำว่า “ความขยั่นหมั่นเพียร มีทั้งภายนอก ภายใน” “ภายนอกนั้น” ผู้ที่เป็นนักบวช ก็ต้องขยันหมั่นเพียรในการปัดกวาดเช็ดถู […]

ควรตั้งใจทำธุระของตน

ควรตั้งใจทำธุระของตน

อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย อ่านว่า อัดตะโน วะ อะเวกเขยยะ ก้าว (๙) พลัง ๙ พลัง หรือ ข้อธรรม ๙ ข้อนี้ เราใช้กับหลักสิ่งต่างๆ ได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติธรรม นั่งสมาธิ […]

การรู้จักพอ มีแต่ประโยชน์

การรู้จักพอ มีแต่ประโยชน์

อปฺปิจฺฉตา อตฺถาย สํวตฺตติ อ่านว่า อับปิดฉะตา อัดถายะ สังวัดตะติ “คิดให้รู้จักพอ” (สมเด็จพระญาณสังวรฯ) “คิดให้รู้จักพอ” ” .. ความคิดอย่างหนึ่งที่สมควรฝึกให้เกิดขึ้นเป็นประจำ “คือความคิดว่าพอ คิดให้รู้จักพอ” ผู้รู้จักพอจะเป็นผู้ที่มีความสบายใจ ส่วนผู้ไม่รู้จักพอจะเป็นผู้ร้อนเร่าแสวงหาไม่หยุดยั้ง “ความไม่รู้จักพอมีอยู่ได้ แม้ในผู้เป็นใหญ่เป็นโตมั่งมีมหาศาลและความรู้จักพอก็มีได้แม้ในผู้จนต่ำต้อย” ทั้งนี้ก็เพราะความพอเป็นเรื่องของใจที่ไม่เกี่ยวกับฐานะภายนอก […]