ความทุกข์ไม่เกิดแก่ ผู้ไม่มีความกังวล

ความทุกข์ไม่เกิดแก่ ผู้ไม่มีความกังวล

อกิญจนํ นานุปตนฺติ ทุกฺขา อ่านว่า อกิญจะนัง นานุปะตันติ ทุกขา เหตุที่ท่านทั้งหลายได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะได้รู้แจ้งกฎอนัตตา สามารถคลายสักกายทิฐิ คือคลาย ความเห็นผิด ว่าเป็นตัวเป็นตนออกเสียได้ แต่ว่ายังไม่สามารถคลาย ความยึดถือ ว่าตัวว่าตนออกได้ ดังนั้นจงหมั่นเพ่ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา […]

กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย

กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย

สุกรานิ อสาธูนิ จ อ่านว่า สุกะรานิ อะสาธูนิ จะ “กรรมไม่ดี กับบุคคลอันเป็นที่รัก” ” .. เป็นผู้ใหญ่ก็อย่าทำกรรมไม่ดี เป็นเด็กหรือเป็นหนุ่มเป็นสาวก็อย่าทำกรรมไม่ดี “แม้รักตัวเองก็อย่าทำกรรมไม่ดี จงทำแต่กรรมดี” หรือแม้รักแม่พ่อพี่น้องลูกหลานก็อย่าทำกรรมไม่ดี “ผลไม่ดีที่ผู้ทำได้รับนั้นจะทำให้บรรดาผู้ที่รักตน พลอยกระทบกระเทือนไปด้วย” ลองนึกถึงใจตนเอง “เมื่อเห็นผู้ที่ตนรักทำความไม่ดี […]

ความคงแก่เรียน เป็นทรัพย์อันประเสริฐ

ความคงแก่เรียน เป็นทรัพย์อันประเสริฐ

สุตธนญฺจ โหติ อ่านว่า สุตะทะนันจะ โหติ พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ได้ยินได้ฟังมาก, ความเป็นผู้ได้เรียนรู้มาก หรือคงแก่เรียน มีองค์ ๕ คือ ๑. พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก ๒. ธตา ทรงจำไว้ได้ ๓. วจสา […]

พึงประพฤติตน ให้พอเหมาะพอดี

พึงประพฤติตนให้พอเหมาะพอดี

อนุมชฺฌํ สมาจเร อ่านว่า อนุมัดชัง สะมาจะเร “อัตตัญญูตา” คือ ความรู้จักตน และก็ประพฤติปฏิบัติให้สมกับฐานะของตัว ว่าฐานะของเราเป็นอย่างไร? และวัด บ้าน โรงเรียน สถานที่ราชการ เราควรวางตัว ทำตัวอย่างไร มันมีคนพร้อมหมด เช่น พระเณร ก็มี […]

ผู้มีบุญ ย่อมยินดีในการทำบุญ

ผู้มีบุญ ย่อมยินดีในการทำบุญ

ปุญฺเญน ปุญฺญํ สนฺทมานา อ่านว่า ปุญเญนะ ปุญญัง สันทะมานา บุญนี้เป็นชื่อแห่งความสุข ชีวิตของทุกๆคนที่ผ่านพ้นไปในรอบปีหนึ่งๆ นับว่าเป็นลาภอย่างยิ่ง จึงถือเหตุทำบุญ เพื่อความเจริญอายุ วรรณะ สุข พละ อันเป็นพรที่ทุกๆคนปรารถนา พรเหล่านี้ ย่อมเกิดขึ้นจากการทำบุญ เราจึงยินดีในการทำบุญ และยินดีได้รับพรจากพระ […]

บัณฑิต แม้มีทุกข์ก็ไม่ละทิ้งธรรม

บัณฑิต แม้มีทุกข์ก็ไม่ละทิ้งธรรม

ทุกฺโขปิ ปณฺฑิโต น ชหาติ อ่านว่า ทุกโขปิ ปัณฑิโต นะ ชะหาติ คติธรรม : บำเพ็ญวิริยบารมี “เกิดเป็นคนควรมีความพากเพียรให้ถึงที่สุด เพื่อให้ถึงแก่สิ่งที่มุ่งหวัง เพียรสุดกำลังจนชีวิตหาไม่ก็จงเพียร แล้วความสำเร็จจะมาเยือน

พึงบากบั่น ทำการงานให้มั่นคง

พึงบากบั่น ทำการงานให้มั่นคง

ทฬฺหเมนํ ปรกฺกเม อ่านว่า ทัฬหะเมนัง ปะรักกะเม จัดสรรทรัพย์ที่หามาได้ ด้วยสัมมาชีพ ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ขยันหมั่นทำงานเก็บออมทรัพย์ ดังผึ้งเก็บรวมน้ำหวานและเกสร ขั้นที่ ๒ เมื่อทรัพย์เก็บก่อขึ้นดังจอมปลวก พึงวางแผนใช้จ่าย คือ – ๑ ส่วน […]

จิตที่อบรมแล้ว ย่อมควรแก่การงาน

จิตที่อบรมแล้ว ย่อมควรแก่การงาน

จิตฺตํ ภาวิตํ กมฺมนิยํ โหติ อ่านว่า จิดตัง ภาวิตัง กัมมะนิยัง โหติ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนช่างหม้อหรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใดๆ พึงทำภาชนะชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างงาหรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงาชนิดใดๆ พึงทำเครื่องงาชนิดนั้นๆ […]

จิตเป็นสุข เพราะรู้จักปล่อยวาง

จิตเป็นสุข เพราะรู้จักปล่อยวาง

อนุปาทา จิตฺตสฺส วิโมกฺโข อ่านว่า อะนุปาทา จิดตัดสะ วิโมกโข คำตรัสของพระพุทธเจ้า “การปล่อยวาง” ดูก่อน อุปกะ ความทุกข์ทั้งมวลมีมูลรากมาจากตัณหาอุปาทาน ความทะยานอยากดิ้นรน และความยึดมั่นถือมั่น ว่าเป็นเราเป็นของเรา รวมถึงความเพลินใจในอารมณ์ต่างๆ สิ่งที่เข้าไปเกาะเกี่ยวยึดถือไว้โดยความเป็นตนเป็นของตนจะไม่ก่อทุกข์ก่อโทษให้นั้น เป็นไม่มีหาไม่ได้ในโลกนี้ เมื่อใดบุคคลมาเห็นสักแต่ว่าได้เห็น ฟังสักแต่ว่าได้ฟัง […]

ผู้มีความดี จงรักษาความดีของตนไว้

ผู้มีความดี จงรักษาความดีของตนไว้

คุณวา จาตฺตโน คุณ อ่านว่า คุณะวา จาตตะโน คุณะ การฝึกฝนตนเองให้เป็นคนมีน้ำใจ นอกจากจะทำให้เรามีจิตใจที่ดีงามเบิกบานแจ่มใส ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบแล้วยังทำให้ได้มิตรสหายมาก ใครก็อยากคบหาสมาคมด้วยเพราะความมีน้ำใจแสดงถึงความมีเมตตากรุณาต่อเพื่อน มนุษย์ แล้วชีวิตของท่านจะพบแต่ความสุขนิรันดร์