ผู้ประพฤติธรรม ย่อมนอนเป็นสุข

ผู้ประพฤติธรรม ย่อมนอนเป็นสุข

ธมฺมจารี สุขํ เสติ อ่านว่า ธัมมะจารี สุขัง เสติ อานิสงส์ของการสวดมนต์แผ่เมตตา มีดังนี้ -หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย -เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย

ควรแบ่งปัน ไม่ว่ามากหรือน้อย

ควรแบ่งปัน ไม่ว่ามากหรือน้อย

อปฺปํ วา ยทิวา พหุ อ่านว่า อับปัง วา ยะทิวา พะหุ จาคะ คือ การเสียสละ การแบ่งปัน การให้ การมีน้ำใจ การเผื่อแผ่ ความไม่โลภ (อโลภะ) และที่สำคัญคือ การสละที่ยิ่งใหญ่ […]

ผู้ไม่คาดหวัง ย่อมหลับเป็นสุข

ผู้ไม่คาดหวัง ย่อมหลับเป็นสุข

สุขํ นิราสา สุปติ อ่านว่า สุขัง นิราสา สุปะติ ทุกข์เกิดจากความคาดหวัง…,, ดังนั้นไม่ควรคาดหวังอะไรมากมายจะทำให้ทุกข์ง่าย เกิดความเครียดสะสม 1. ถ้าเป็นเรื่องงานก็ขอทำให้เต็มที่ เต็มกำลัง โดยไม่ท้อ ดีที่สุดตามกำลังความสามารถตน เเละควรพอใจกับผลงานนั้น 2. กรณีครอบครัว ทุกข์เพราะลูก ก็ทำหน้าที่เเม่ของเราไป […]

คนคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง

คนคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง

ยานิ กโรติ ตานิ ปสฺสติ อ่านว่า ยานิ กะโรติ ตานิ ปัดสะติ ลักษณะของญาติที่ควรให้การสงเคราะห์ เมื่ออยู่ในฐานะดังนี้คือ ๑. เมื่อยากจนหาที่พึ่งมิได้ ๒. เมื่อขาดทุนทรัพย์ในการค้าขาย ๓. เมื่อขาดยานพาหนะ ๔ .เมื่อขาดอุปกรณ์ทำมาหากิน ๕. เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย […]

คนทำกรรมใดไว้ ย่อมเห็นกรรมนั้นเอง

คนทำกรรมใดไว้ ย่อมเห็นกรรมนั้นเอง

ยานิ กโรติ ตานิ ปสฺสติ อ่านว่า ยานิ กะโรติ ตานิ ปัดสะติ ลิงสองพี่น้อง (จุลลนันทิยชาดก) ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเวฬุวันเมืองราชคฤห์ ทรงปรารภพระเทวทัตผู้ชั่วช้า ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นลิงชื่อนันทิยะอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ มีลิงน้องชายชื่อจุลลนันทิยะ มีลิงบริวารอยู่ประมาณ ๘๔,๐๐๐ […]

ไม่พึงเบียดเบียนคนอื่น และแม้แต่ตนเอง

ไม่พึงเบียดเบียนคนอื่น และแม้แต่ตนเอง

น ปรํ นาปิ อตฺตานํ วิหึสติ อ่านว่า นะ ปะรัง นาปิ อัดตานัง วิหิงสะติ “ภาวนาคือคิดให้มันถูกต้อง” ” .. “การภาวนานั้น มิใช่ว่าการนั่งหลับตาอย่างเดียว” การลืมตาก็ภาวนา การหลับตาก็ภาวนา การนั่งก็ภาวนา การยืนก็ภาวนา […]

ความพินิจ ไม่มีแก่คนไร้ปัญญา

ความพินิจ ไม่มีแก่คนไร้ปัญญา

นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส อ่านว่า นัตถิ ชานัง อะปัญญัสสะ คติธรรม : บำเพ็ญปัญญาบารมี “ปัญญาอันล้ำเลิศนั้นย่อมทำคุณให้แก่บุคคล ยิ่งกว่ามีทรัพย์นับแสน แม้มิมีปัญญาดั่งปราชญ์ แต่ถ้าเป็นผู้รู้จักคิดให้รอบคอบก่อน ก็ย่อมเป็นผู้มีปัญญาและประพฤติชอบแล้ว”

สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของใจ

สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของใจ

มนสฺส สติ ปฏิสรณํ อ่านว่า มนัสสะ สติ ปฏิสะระณัง “กัมมัฏฐานเบื้องต้น” ” .. ในขณะที่เราทำการปฏิบัติสมาธิกัมมัฏฐานนั้น “เราจะต้องมีบทบริกรรมบทใดบทหนึ่ง มาเป็นเครื่องล่อจิต” เหมือนอย่างเด็กเล็กที่มันกำลังร้องไห้ร้องห่มอยู่ ผู้ที่เป็นพ่อเป็นแม่หรือเป็นพี่เลี้ยงจะต้องมีสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ขนมหรือของเล่นบางประการให้เด็กนั้นเล่นแล้วก็หายจากความร้องไห้ไป ฉันใดก็ดี “จิตของเราเมื่อยึดในอารมณ์ส่วนใดส่วนหนึ่ง” เช่น […]

พึงพินิจพิจารณาเรื่องราว โดยรอบคอบ

พึงพินิจพิจารณาเรื่องราว โดยรอบคอบ

โยนิโส วิจิเน ธมฺมํ อ่านว่า โยนิโส วิจิเน ธัมมัง “กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจม ผู้ดีจะเดินตรอก ขี้ครอกจะเดินถนน” ” .. คำพยากรณ์แต่โบราณนานมานี้ “น่าจะบอกว่ายุคมืดจะมาถึง คือยุคที่คนดีจะถูกเหยียบย่ำ คนชั่วจะได้รับยกย่อง” ซึ่งต้องเป็นผลของกรรมที่ได้ทำกันมา ทั้งกรรมชั่ว และทั้งกรรมดี […]

เมื่อเกิดเหตุร้ายแรง ย่อมต้องการคนกล้าหาญ

เมื่อเกิดเหตุร้ายแรง ย่อมต้องการคนกล้าหาญ

อุกฺกฏฺเฐ สูรมิจฺฉนฺติ อ่านว่า อุกกัดเถ สูระมิดฉันติ กล้า – มีสติ จึงเรียกว่า กล้าหาญ ถ้ากล้า โดยไม่มีสติกำกับ เขาเรียกว่า ความบ้าบิ่น ไม่ใช่ความกล้า คนเรามักจะเข้าใจผิด เอา ความบ้าบิ่นมาเป็นความกล้า คือเห็นใครทำอะไรได้ เกินกว่าคนสามัญ […]