ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

สํวิภชฺชญฺจ โภชนํ อ่านว่า สังวิภัดชันจะ โภชะนัง สุวัณณหังสชาดก – หงส์ทองคำ ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภภิกษุณีชื่อ ถุลนันทา ผู้ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคกระเทียม สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ตระกูลหนึ่ง มีภรรยาและลูกสาว […]

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ขนฺติ สาหสวารณา อ่านว่า ขันติ สาหะสะวารณา มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน ขันตี จะ ๏ ความอดทน ตรากตรำ ยามลำบาก เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล […]

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สตํ เว โหติ มนฺตนา อ่านว่า สะตัง เว โหติ มันตะนา “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” ” .. การปรึกษาหารือกัน “อย่าเอาทิฏฐิมานะไปพูดกัน” หวังความสงบเยือกเย็น […]

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

สาธุ ตสฺส อทสฺสนํ อ่านว่า สาธุ ตัดสะ อะทัดสะนัง มงคลที่ ๑ การไม่คบคนพาล อะเสวะนา จะ พาลานัง ๏ อย่าคบมิตรที่พาลสันดานชั่ว จะพาตัวเน่าดิบจนฉิบหาย แม้ความคิดชั่วช้าอย่ากล้ำกราย เป็นมิตรร้ายภายในทุกข์ใจครัน ๛ ท่านว่าลักษณะของคนพาลมี […]

ไม่ควรยึดถือในความผิดพลาด

ไม่ควรยึดถือในความผิดพลาด

ขลิตญฺจ จ คาหเย อ่านว่า ขะลิตัญจะ จะ คาหะเย กาลเวลาแต่ละวันเดือนปีที่ผ่านไป เป็นโอกาสที่จะได้ย้อนตรวจสอบบทบาทลีลาของชีวิต หากผิดพลาดจะได้หาโอกาสแก้ไขเพื่อความผ่องใสยิ่งขึ้น เรียกว่าเป็นจังหวะที่จะได้ “ทบทวนความหลัง ระวังความผิด และเตือนจิตของตน” พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ทุกคนรู้จักพลิกบทบาทของชีวิต อุปมาคล้ายคนปิ้งปลา รู้ว่าจะไหม้ต้องพลิกกลับ ดังกลอนอุทานธรรม ท่านสอนไว้ว่า.. ปิ้งปลาหมอ […]

คนโกรธ ย่อมมองไม่เห็นธรรม

คนโกรธ ย่อมมองไม่เห็นธรรม

กุทโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ อ่านว่า กุทโธ ธัมมัง นะ ปัสสะติ “คนมักโกรธย่อมอยู่เป็นทุกข์” ” .. “ทำตัวให้เป็นทุกข์ด้วยการไม่ลดละความโกรธ” ก็คือการไม่เมตตาตนเองก่อนไม่เมตตาใครอื่น “ญาติมิตรและสหายย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ” นี้ก็เป็นพระพุทธศาสนสุภาษิตอีกบทหนึ่ง “ที่ชี้โทษของความโกรธ ไม่มีผู้ใดชอบสมาคมกับคนขี้โกรธ” เพราะไม่ทำให้เกิดความสบายใจได้เลยและใครเล่าปรารถนาความไม่สบายใจ ไม่มีแน่ […]

ผู้ไม่มีอะไรกังวลใจ ย่อมมีความสุข

ผู้ไม่มีอะไรกังวลใจ ย่อมมีความสุข

สุขํ วต ตสฺส น โหติ กิญฺจิ อ่านว่า สุขัง วะตะ ตัสสะ นะ โหติ กิญจิ พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร วัดอโศการาม อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ความทุกข์ทั้งหลายย่อมเกิดมาแต่เหตุ เมื่อเรารู้จักเหตุเราก็รู้จักวิธีกำจัดทุกข์ได้ […]

ความโศก ไม่อาจนำมาซึ่งความสุขในอนาคต

ความโศก ไม่อาจนำมาซึ่งความสุขในอนาคต

นานาคตสุขาวโห อ่านว่า นานาคะตะสุขาวะโห การทำให้จิตใจไม่โศกเศร้านั้น มีข้อแนะนำดังนี้ ๑. ใช้ปัญญาพิจารณาอยู่เนืองๆ ถึงความไม่เที่ยงในสิ่งของทั้งหลาย และร่างกายของเรา ๒. ไม่ยึดมั่นในตัวตน หรือความจีรังยั่งยืน ในคนหรือสิ่งของว่าเป็นของเรา ๓. ทุกอย่างในโลกล้วนเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ แม้ร่างกายเราก็ใช้เป็นที่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น ๔. คิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนไม่เที่ยงด้วยกันทั้งนั้น

ทำอะไร โดยผลีผลาม ย่อมเดือดร้อน

ทำอะไร โดยผลีผลาม ย่อมเดือดร้อน

เวคสา หิ กตํ กมฺมํ อ่านว่า เวคะสา หิ กะตัง กัมมัง นิทานธรรมะบันเทิง …รอดเพราะปัญญา… พญาลิงผู้ตัวหนึ่ง อาศัยอยู่ในป่าแห่งหนึ่ง เคยโดดข้ามไปหาอาหารผลไม้กิน ที่เกาะกลางน้ำ ในขณะที่กระโดดไปนั้น ต้องพักที่ก้อนหินซึ่งตั้งอยู่ในระหว่างฝั่งกับเกาะ แล้วจึงกระโดดต่อไปยังเกาะอีกทีหนึ่ง ทั้งไปและกลับ ต้องทำเช่นนี้เป็นนิจ […]

จงทำประโยชน์ให้สำเร็จ ด้วยความไม่ประมาท

จงทำประโยชน์ให้สำเร็จ ด้วยความไม่ประมาท

อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ อ่านว่า อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ การฝึกจิตที่ดีย่อมสำเร็จประโยชน์ เราสังเกตดูแต่สัตว์พาหนะ เช่น ช้าง วัว ควาย ก่อนที่เราจะเอามาใช้งาน ต้องฝึกเสียก่อน เมื่อฝึกดีแล้วเราจึงได้อาศัยแรงงานมัน ทำประโยชน์นานาประการ ท่านทั้งหลายก็ทราบแล้ว จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมมีคุณค่ามากมายกว่ากันหลายเท่า ดูแต่พระพุทธองค์และพระอริยสาวกได้เปลี่ยนภาวะจากปุถุชนมาเป็นพระอริยบุคคลจนเป็นที่กราบไหว้ของคนทั่วไปและท่านได้ทำประโยชน์อย่างกว้างขวางเหลือประมาณที่เรา ๆ จะกำหนดเพราะพระพุทธองค์และสาวกได้ผ่านการฝึกจิตมาด้วยดีแล้วทั้งนั้น […]