ผู้ขอ ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ

ผู้ขอ ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ

ยาจโก อปฺปิโย โหติ อ่านว่า ยาจะโก อับปิโย โหติ นิทานชาดก พรหมทัตตชาดก การขอ ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่อัคคาฬวเจดีย์ เมืองอาฬวี ทรงปรารภกุฏิการสิกขาบทที่พวกภิกษุชาวเมืองอาฬวีพากันสร้างกุฏีเที่ยวขอชาวบ้าน จนชาวบ้านเกิดความเดือดร้อนขึ้นจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลายโบราณบัณฑิต แม้พระราชาจะปวารณาไว้แล้วก็ไม่มีขอในท่ามกลางมหาชน เพราะกลัวหิริโอตตับปปะร้าวฉานออกปากขอในที่ลับเท่านั้น ” แล้วได้นำอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว […]

คนโกรธ ย่อมมองไม่เห็นธรรม

คนโกรธ ย่อมมองไม่เห็นธรรม

กุทโธ ธมฺมํ น ปสฺสติ อ่านว่า กุทโธ ธัมมัง นะ ปัสสะติ “คนมักโกรธย่อมอยู่เป็นทุกข์” ” .. “ทำตัวให้เป็นทุกข์ด้วยการไม่ลดละความโกรธ” ก็คือการไม่เมตตาตนเองก่อนไม่เมตตาใครอื่น “ญาติมิตรและสหายย่อมหลีกเลี่ยงคนมักโกรธ” นี้ก็เป็นพระพุทธศาสนสุภาษิตอีกบทหนึ่ง “ที่ชี้โทษของความโกรธ ไม่มีผู้ใดชอบสมาคมกับคนขี้โกรธ” เพราะไม่ทำให้เกิดความสบายใจได้เลยและใครเล่าปรารถนาความไม่สบายใจ ไม่มีแน่ […]

ผู้ถูกขอ เมื่อไม่ให้ ก็ไม่เป็นที่รักของผู้ขอ

ผู้ถูกขอ เมื่อไม่ให้ ก็ไม่เป็นที่รักของผู้ขอ

ยาจกํ อททนปฺปิโย อ่านว่า ยาจะกัง อะทะทะนับปิโย นิทานชาดก พรหมทัตตชาดก การขอ ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่อัคคาฬวเจดีย์ เมืองอาฬวี ทรงปรารภกุฏิการสิกขาบทที่พวกภิกษุชาวเมืองอาฬวีพากันสร้างกุฏีเที่ยวขอชาวบ้าน จนชาวบ้านเกิดความเดือดร้อนขึ้นจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลายโบราณบัณฑิต แม้พระราชาจะปวารณาไว้แล้วก็ไม่มีขอในท่ามกลางมหาชน เพราะกลัวหิริโอตตับปปะร้าวฉานออกปากขอในที่ลับเท่านั้น ” แล้วได้นำอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลพราหมณ์ […]

ผู้ไม่มีอะไรกังวลใจ ย่อมมีความสุข

ผู้ไม่มีอะไรกังวลใจ ย่อมมีความสุข

สุขํ วต ตสฺส น โหติ กิญฺจิ อ่านว่า สุขัง วะตะ ตัสสะ นะ โหติ กิญจิ พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร วัดอโศการาม อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ความทุกข์ทั้งหลายย่อมเกิดมาแต่เหตุ เมื่อเรารู้จักเหตุเราก็รู้จักวิธีกำจัดทุกข์ได้ […]

ความโศก ไม่อาจนำมาซึ่งความสุขในอนาคต

ความโศก ไม่อาจนำมาซึ่งความสุขในอนาคต

นานาคตสุขาวโห อ่านว่า นานาคะตะสุขาวะโห การทำให้จิตใจไม่โศกเศร้านั้น มีข้อแนะนำดังนี้ ๑. ใช้ปัญญาพิจารณาอยู่เนืองๆ ถึงความไม่เที่ยงในสิ่งของทั้งหลาย และร่างกายของเรา ๒. ไม่ยึดมั่นในตัวตน หรือความจีรังยั่งยืน ในคนหรือสิ่งของว่าเป็นของเรา ๓. ทุกอย่างในโลกล้วนเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ แม้ร่างกายเราก็ใช้เป็นที่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น ๔. คิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนไม่เที่ยงด้วยกันทั้งนั้น

อย่าถามถึงชาติกำเนิด จงถามถึงความประพฤติ

อย่าถามถึงชาติกำเนิด จงถามถึงความประพฤติ

มา ชาตึ ปุจฺฉ จรณญฺจ อ่านว่า มา ชาติง ปุจฉะ จะระณัญจะ “คนเราจะดีเพราะความประพฤติ” ” .. “คนเราจะดีเพราะความประพฤติ” ไม่ได้ดีเพราะรูปร่างกลางตัวเฉย ๆ ว่ามีเงินมีทองว่าดีไม่ดี “มันดีอยู่กับตัวเอง ถ้าตัวเองไม่ดีแล้วมีเท่าไรก็ฉิบหายหมด” ถ้าเจ้าของดีแล้วมีน้อยก็มีมาก ไม่ดีก็ดีขึ้นไปโดยลำดับ […]

ผู้ถือตนเป็นใหญ่ ควรมีสติกำกับ

ผู้ถือตนเป็นใหญ่ ควรมีสติกำกับ

อตฺตาธิปโก สโต จเร อ่านว่า อัตตาธิปะโก สโต จะเร สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลาย โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมันไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่างคือ ๑. กายานุปัสสนา […]

ทำอะไร โดยผลีผลาม ย่อมเดือดร้อน

ทำอะไร โดยผลีผลาม ย่อมเดือดร้อน

เวคสา หิ กตํ กมฺมํ อ่านว่า เวคะสา หิ กะตัง กัมมัง นิทานธรรมะบันเทิง …รอดเพราะปัญญา… พญาลิงผู้ตัวหนึ่ง อาศัยอยู่ในป่าแห่งหนึ่ง เคยโดดข้ามไปหาอาหารผลไม้กิน ที่เกาะกลางน้ำ ในขณะที่กระโดดไปนั้น ต้องพักที่ก้อนหินซึ่งตั้งอยู่ในระหว่างฝั่งกับเกาะ แล้วจึงกระโดดต่อไปยังเกาะอีกทีหนึ่ง ทั้งไปและกลับ ต้องทำเช่นนี้เป็นนิจ […]

จงทำประโยชน์ให้สำเร็จ ด้วยความไม่ประมาท

จงทำประโยชน์ให้สำเร็จ ด้วยความไม่ประมาท

อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ อ่านว่า อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ การฝึกจิตที่ดีย่อมสำเร็จประโยชน์ เราสังเกตดูแต่สัตว์พาหนะ เช่น ช้าง วัว ควาย ก่อนที่เราจะเอามาใช้งาน ต้องฝึกเสียก่อน เมื่อฝึกดีแล้วเราจึงได้อาศัยแรงงานมัน ทำประโยชน์นานาประการ ท่านทั้งหลายก็ทราบแล้ว จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมมีคุณค่ามากมายกว่ากันหลายเท่า ดูแต่พระพุทธองค์และพระอริยสาวกได้เปลี่ยนภาวะจากปุถุชนมาเป็นพระอริยบุคคลจนเป็นที่กราบไหว้ของคนทั่วไปและท่านได้ทำประโยชน์อย่างกว้างขวางเหลือประมาณที่เรา ๆ จะกำหนดเพราะพระพุทธองค์และสาวกได้ผ่านการฝึกจิตมาด้วยดีแล้วทั้งนั้น […]

ผู้ประพฤติธรรม ย่อมนอนเป็นสุข

ผู้ประพฤติธรรม ย่อมนอนเป็นสุข

ธมฺมจารี สุขํ เสติ อ่านว่า ธัมมะจารี สุขัง เสติ อานิสงส์ของการสวดมนต์แผ่เมตตา มีดังนี้ -หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย -เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย