สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจ

สติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจ

มนสฺส สติ ปฏิสรณํ อ่านว่า มนัสสะ สติ ปฏิสะระณัง ——————————— สังคหวัตถุ แปลว่า ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน เหมือนลิ่มสลักรถที่ตรึงตัวรถไว้มิให้ชิ้นส่วนกระจายไป […]

คนที่ขยัน วันแต่ละวันคือวันโชคดี

คนที่ขยัน วันแต่ละวันคือวันโชคดี

ตํ เว ภทฺเทกรตฺโตติ อ่านว่า ตัง เว พัดเทกะรัดโตติ “ความขยันหมั่นเพียร เป็นยอดแห่งธรรม” ” .. ความขยันหมั่นเพียร เป็นยอดแห่งธรรม คำว่า “ความขยั่นหมั่นเพียร มีทั้งภายนอก ภายใน” “ภายนอกนั้น” ผู้ที่เป็นนักบวช ก็ต้องขยันหมั่นเพียรในการปัดกวาดเช็ดถู […]

การรู้จักพอ มีแต่ประโยชน์

การรู้จักพอ มีแต่ประโยชน์

อปฺปิจฺฉตา อตฺถาย สํวตฺตติ อ่านว่า อับปิดฉะตา อัดถายะ สังวัดตะติ “คิดให้รู้จักพอ” (สมเด็จพระญาณสังวรฯ) “คิดให้รู้จักพอ” ” .. ความคิดอย่างหนึ่งที่สมควรฝึกให้เกิดขึ้นเป็นประจำ “คือความคิดว่าพอ คิดให้รู้จักพอ” ผู้รู้จักพอจะเป็นผู้ที่มีความสบายใจ ส่วนผู้ไม่รู้จักพอจะเป็นผู้ร้อนเร่าแสวงหาไม่หยุดยั้ง “ความไม่รู้จักพอมีอยู่ได้ แม้ในผู้เป็นใหญ่เป็นโตมั่งมีมหาศาลและความรู้จักพอก็มีได้แม้ในผู้จนต่ำต้อย” ทั้งนี้ก็เพราะความพอเป็นเรื่องของใจที่ไม่เกี่ยวกับฐานะภายนอก […]

คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

วินยํ โส น ชานาติ อ่านว่า วินะยัง โส นะ ชานาติ รูปแบบของคนพาล มีข้อควรสังเกตุคือ ๑. ชอบแนะนำไปในทางที่ผิด หรือที่ไม่ควรแนะนำ อาทิเช่น แนะนำให้ไปเล่นการพนัน ให้ไปลักขโมย ให้กินยาบ้า ให้เสพยา ชวนไปฉุดคร่าอนาจาร […]

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

สํวิภชฺชญฺจ โภชนํ อ่านว่า สังวิภัดชันจะ โภชะนัง สุวัณณหังสชาดก – หงส์ทองคำ ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภภิกษุณีชื่อ ถุลนันทา ผู้ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคกระเทียม สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ตระกูลหนึ่ง มีภรรยาและลูกสาว […]

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ขนฺติ สาหสวารณา อ่านว่า ขันติ สาหะสะวารณา มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน ขันตี จะ ๏ ความอดทน ตรากตรำ ยามลำบาก เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล […]

การฟังเป็นเหตุให้เกิดปัญญา

การฟังเป็นเหตุให้เกิดปัญญา

สุตํ ปญฺญาย วฑฺฒนํ อ่านว่า สุตัง ปันยายะ วัดทะนัง มงคลที่ ๒๖ การฟังธรรมตามกาล กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง ๏ การฟังธรรม ตามกาล ผ่านมาถึง ควรคำนึง นิ่งนั่ง ฟังขยัน ย่อมจะเกิด […]

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

สาธุ ตสฺส อทสฺสนํ อ่านว่า สาธุ ตัดสะ อะทัดสะนัง มงคลที่ ๑ การไม่คบคนพาล อะเสวะนา จะ พาลานัง ๏ อย่าคบมิตรที่พาลสันดานชั่ว จะพาตัวเน่าดิบจนฉิบหาย แม้ความคิดชั่วช้าอย่ากล้ำกราย เป็นมิตรร้ายภายในทุกข์ใจครัน ๛ ท่านว่าลักษณะของคนพาลมี […]

ควรระวังตนมิให้เสื่อมเสีย

ควรระวังตนมิให้เสื่อมเสีย

สํวเร วิวรานิ จ อ่านว่า สังวะเร วิวะรานิ จะ ฆราวาสธรรม ๔ (ธรรมสำหรับฆราวาส, ธรรมสำหรับการครองเรือน, หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ – virtues for a good household life; virtues […]

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

นาสมฺเส อตฺตตฺถปญฺญมฺหิ อ่านว่า นาสัมเส อัตตัตถะปัญญัมหิ ความมีน้ำใจนั้น ตรงกันข้ามความเห็นแก่ตัว ขณะทีคน่เห็นแก่ตัวมักจะคิดแต่ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน และความมีน้ำใจยังตรงกันข้ามกับความ อิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยา คนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความวิบัติของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีน้ำใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่า จะมีมุทิตาแสดง ความยินดีด้วยอย่างจริงใจ ผู้มีน้ำใจจะนึกถึงผู้อื่น และจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่า ผู้มีน้ำใจจึงเป็นที่รักและต้องการของคนทั่วไป และ เป็นคนมีคุณค่าต่อสังคม […]