คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

วินยํ โส น ชานาติ อ่านว่า วินะยัง โส นะ ชานาติ รูปแบบของคนพาล มีข้อควรสังเกตุคือ ๑. ชอบแนะนำไปในทางที่ผิด หรือที่ไม่ควรแนะนำ อาทิเช่น แนะนำให้ไปเล่นการพนัน ให้ไปลักขโมย ให้กินยาบ้า ให้เสพยา ชวนไปฉุดคร่าอนาจาร […]

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

สํวิภชฺชญฺจ โภชนํ อ่านว่า สังวิภัดชันจะ โภชะนัง สุวัณณหังสชาดก – หงส์ทองคำ ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภภิกษุณีชื่อ ถุลนันทา ผู้ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคกระเทียม สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ตระกูลหนึ่ง มีภรรยาและลูกสาว […]

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สตํ เว โหติ มนฺตนา อ่านว่า สะตัง เว โหติ มันตะนา “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” ” .. การปรึกษาหารือกัน “อย่าเอาทิฏฐิมานะไปพูดกัน” หวังความสงบเยือกเย็น […]

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

สาธุ ตสฺส อทสฺสนํ อ่านว่า สาธุ ตัดสะ อะทัดสะนัง มงคลที่ ๑ การไม่คบคนพาล อะเสวะนา จะ พาลานัง ๏ อย่าคบมิตรที่พาลสันดานชั่ว จะพาตัวเน่าดิบจนฉิบหาย แม้ความคิดชั่วช้าอย่ากล้ำกราย เป็นมิตรร้ายภายในทุกข์ใจครัน ๛ ท่านว่าลักษณะของคนพาลมี […]

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

นาสมฺเส อตฺตตฺถปญฺญมฺหิ อ่านว่า นาสัมเส อัตตัตถะปัญญัมหิ ความมีน้ำใจนั้น ตรงกันข้ามความเห็นแก่ตัว ขณะทีคน่เห็นแก่ตัวมักจะคิดแต่ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน และความมีน้ำใจยังตรงกันข้ามกับความ อิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยา คนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความวิบัติของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีน้ำใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่า จะมีมุทิตาแสดง ความยินดีด้วยอย่างจริงใจ ผู้มีน้ำใจจะนึกถึงผู้อื่น และจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่า ผู้มีน้ำใจจึงเป็นที่รักและต้องการของคนทั่วไป และ เป็นคนมีคุณค่าต่อสังคม […]

ผู้ขอ ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ

ผู้ขอ ย่อมไม่เป็นที่รักของผู้ถูกขอ

ยาจโก อปฺปิโย โหติ อ่านว่า ยาจะโก อับปิโย โหติ นิทานชาดก พรหมทัตตชาดก การขอ ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่อัคคาฬวเจดีย์ เมืองอาฬวี ทรงปรารภกุฏิการสิกขาบทที่พวกภิกษุชาวเมืองอาฬวีพากันสร้างกุฏีเที่ยวขอชาวบ้าน จนชาวบ้านเกิดความเดือดร้อนขึ้นจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลายโบราณบัณฑิต แม้พระราชาจะปวารณาไว้แล้วก็ไม่มีขอในท่ามกลางมหาชน เพราะกลัวหิริโอตตับปปะร้าวฉานออกปากขอในที่ลับเท่านั้น ” แล้วได้นำอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว […]

ผู้ถูกขอ เมื่อไม่ให้ ก็ไม่เป็นที่รักของผู้ขอ

ผู้ถูกขอ เมื่อไม่ให้ ก็ไม่เป็นที่รักของผู้ขอ

ยาจกํ อททนปฺปิโย อ่านว่า ยาจะกัง อะทะทะนับปิโย นิทานชาดก พรหมทัตตชาดก การขอ ในสมัยหนึ่งพระพุทธเจ้าประทับอยู่อัคคาฬวเจดีย์ เมืองอาฬวี ทรงปรารภกุฏิการสิกขาบทที่พวกภิกษุชาวเมืองอาฬวีพากันสร้างกุฏีเที่ยวขอชาวบ้าน จนชาวบ้านเกิดความเดือดร้อนขึ้นจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลายโบราณบัณฑิต แม้พระราชาจะปวารณาไว้แล้วก็ไม่มีขอในท่ามกลางมหาชน เพราะกลัวหิริโอตตับปปะร้าวฉานออกปากขอในที่ลับเท่านั้น ” แล้วได้นำอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดในตระกูลพราหมณ์ […]

ควรแบ่งปัน ไม่ว่ามากหรือน้อย

ควรแบ่งปัน ไม่ว่ามากหรือน้อย

อปฺปํ วา ยทิวา พหุ อ่านว่า อับปัง วา ยะทิวา พะหุ จาคะ คือ การเสียสละ การแบ่งปัน การให้ การมีน้ำใจ การเผื่อแผ่ ความไม่โลภ (อโลภะ) และที่สำคัญคือ การสละที่ยิ่งใหญ่ […]

คนคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง

คนคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง

ยานิ กโรติ ตานิ ปสฺสติ อ่านว่า ยานิ กะโรติ ตานิ ปัดสะติ ลักษณะของญาติที่ควรให้การสงเคราะห์ เมื่ออยู่ในฐานะดังนี้คือ ๑. เมื่อยากจนหาที่พึ่งมิได้ ๒. เมื่อขาดทุนทรัพย์ในการค้าขาย ๓. เมื่อขาดยานพาหนะ ๔ .เมื่อขาดอุปกรณ์ทำมาหากิน ๕. เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย […]

ไม่พึงเบียดเบียนคนอื่น และแม้แต่ตนเอง

ไม่พึงเบียดเบียนคนอื่น และแม้แต่ตนเอง

น ปรํ นาปิ อตฺตานํ วิหึสติ อ่านว่า นะ ปะรัง นาปิ อัดตานัง วิหิงสะติ “ภาวนาคือคิดให้มันถูกต้อง” ” .. “การภาวนานั้น มิใช่ว่าการนั่งหลับตาอย่างเดียว” การลืมตาก็ภาวนา การหลับตาก็ภาวนา การนั่งก็ภาวนา การยืนก็ภาวนา […]