คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

คนพาลไม่ยอมรับรู้ระเบียบวินัย

วินยํ โส น ชานาติ อ่านว่า วินะยัง โส นะ ชานาติ รูปแบบของคนพาล มีข้อควรสังเกตุคือ ๑. ชอบแนะนำไปในทางที่ผิด หรือที่ไม่ควรแนะนำ อาทิเช่น แนะนำให้ไปเล่นการพนัน ให้ไปลักขโมย ให้กินยาบ้า ให้เสพยา ชวนไปฉุดคร่าอนาจาร […]

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

ร่ำรวยแล้ว ต้องแบ่งปัน

สํวิภชฺชญฺจ โภชนํ อ่านว่า สังวิภัดชันจะ โภชะนัง สุวัณณหังสชาดก – หงส์ทองคำ ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงปรารภภิกษุณีชื่อ ถุลนันทา ผู้ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคกระเทียม สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นพราหมณ์ตระกูลหนึ่ง มีภรรยาและลูกสาว […]

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ความอดทน ย่อมห้ามไว้ซึ่ง ความผลุนผลัน

ขนฺติ สาหสวารณา อ่านว่า ขันติ สาหะสะวารณา มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน ขันตี จะ ๏ ความอดทน ตรากตรำ ยามลำบาก เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล […]

การฟังเป็นเหตุให้เกิดปัญญา

การฟังเป็นเหตุให้เกิดปัญญา

สุตํ ปญฺญาย วฑฺฒนํ อ่านว่า สุตัง ปันยายะ วัดทะนัง มงคลที่ ๒๖ การฟังธรรมตามกาล กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง ๏ การฟังธรรม ตามกาล ผ่านมาถึง ควรคำนึง นิ่งนั่ง ฟังขยัน ย่อมจะเกิด […]

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สัตบุรุษ ย่อมมีการปรึกษาหารือกัน

สตํ เว โหติ มนฺตนา อ่านว่า สะตัง เว โหติ มันตะนา “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) “อยู่ด้วยกัน อย่าเอาทิฏฐิมานะมาอวดกัน” ” .. การปรึกษาหารือกัน “อย่าเอาทิฏฐิมานะไปพูดกัน” หวังความสงบเยือกเย็น […]

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

การไม่พบคนพาล เป็นสิ่งดี

สาธุ ตสฺส อทสฺสนํ อ่านว่า สาธุ ตัดสะ อะทัดสะนัง มงคลที่ ๑ การไม่คบคนพาล อะเสวะนา จะ พาลานัง ๏ อย่าคบมิตรที่พาลสันดานชั่ว จะพาตัวเน่าดิบจนฉิบหาย แม้ความคิดชั่วช้าอย่ากล้ำกราย เป็นมิตรร้ายภายในทุกข์ใจครัน ๛ ท่านว่าลักษณะของคนพาลมี […]

ควรระวังตนมิให้เสื่อมเสีย

ควรระวังตนมิให้เสื่อมเสีย

สํวเร วิวรานิ จ อ่านว่า สังวะเร วิวะรานิ จะ ฆราวาสธรรม ๔ (ธรรมสำหรับฆราวาส, ธรรมสำหรับการครองเรือน, หลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ – virtues for a good household life; virtues […]

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

อย่าไว้วางใจ คนที่เห็นแก่ตัว

นาสมฺเส อตฺตตฺถปญฺญมฺหิ อ่านว่า นาสัมเส อัตตัตถะปัญญัมหิ ความมีน้ำใจนั้น ตรงกันข้ามความเห็นแก่ตัว ขณะทีคน่เห็นแก่ตัวมักจะคิดแต่ประโยชน์ส่วนตัวมาก่อน และความมีน้ำใจยังตรงกันข้ามกับความ อิจฉาริษยา คนที่อิจฉาริษยา คนอื่นย่อมปรารถนาที่จะเห็นความวิบัติของผู้ที่ได้ดีกว่า แต่คนมีน้ำใจนั้นเมื่อเห็นคนอื่นได้ดีกว่า จะมีมุทิตาแสดง ความยินดีด้วยอย่างจริงใจ ผู้มีน้ำใจจะนึกถึงผู้อื่น และจะพยายามช่วยผู้อื่นที่ด้อยโอกาสกว่า ผู้มีน้ำใจจึงเป็นที่รักและต้องการของคนทั่วไป และ เป็นคนมีคุณค่าต่อสังคม […]

ไม่ควรยึดถือในความผิดพลาด

ไม่ควรยึดถือในความผิดพลาด

ขลิตญฺจ จ คาหเย อ่านว่า ขะลิตัญจะ จะ คาหะเย กาลเวลาแต่ละวันเดือนปีที่ผ่านไป เป็นโอกาสที่จะได้ย้อนตรวจสอบบทบาทลีลาของชีวิต หากผิดพลาดจะได้หาโอกาสแก้ไขเพื่อความผ่องใสยิ่งขึ้น เรียกว่าเป็นจังหวะที่จะได้ “ทบทวนความหลัง ระวังความผิด และเตือนจิตของตน” พระพุทธเจ้าตรัสสอนให้ทุกคนรู้จักพลิกบทบาทของชีวิต อุปมาคล้ายคนปิ้งปลา รู้ว่าจะไหม้ต้องพลิกกลับ ดังกลอนอุทานธรรม ท่านสอนไว้ว่า.. ปิ้งปลาหมอ […]

การเลี้ยงดูมารดาบิดา นำมาซึ่งความสุข

การเลี้ยงดูมารดาบิดา นำมาซึ่งความสุข

สุขา มตฺเตยฺยตา โลเก อ่านว่า สุขา มัดเตยยะตา โลเก ๏ คนที่หาได้ยากมากไฉน เพราะว่าในโลกนี้มีเพียงสอง คือพ่อแม่เกิดเกล้าเหล่าลูกต้อง ตอบสนองพระคุณได้บุญแรง ๛ ท่านว่าพ่อแม่นั้นเปรียบได้เป็นทั้ง ครูของลูก เทวดาของลูก พรหมของลูก และอรหันต์ของลูก ความหมายโดยละเอียดมีดังต่อไปนี้คือ ที่ว่าเป็นครูของลูก เพราะว่าท่านได้คอยอบรมสั่งสอนลูก […]