คนทำกรรมใดไว้ ย่อมเห็นกรรมนั้นเอง

คนทำกรรมใดไว้ ย่อมเห็นกรรมนั้นเอง

ยานิ กโรติ ตานิ ปสฺสติ อ่านว่า ยานิ กะโรติ ตานิ ปัดสะติ ลิงสองพี่น้อง (จุลลนันทิยชาดก) ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเวฬุวันเมืองราชคฤห์ ทรงปรารภพระเทวทัตผู้ชั่วช้า ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธก ว่า… กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นลิงชื่อนันทิยะอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ มีลิงน้องชายชื่อจุลลนันทิยะ มีลิงบริวารอยู่ประมาณ ๘๔,๐๐๐ […]

พึงพินิจพิจารณาเรื่องราว โดยรอบคอบ

พึงพินิจพิจารณาเรื่องราว โดยรอบคอบ

โยนิโส วิจิเน ธมฺมํ อ่านว่า โยนิโส วิจิเน ธัมมัง “กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจม ผู้ดีจะเดินตรอก ขี้ครอกจะเดินถนน” ” .. คำพยากรณ์แต่โบราณนานมานี้ “น่าจะบอกว่ายุคมืดจะมาถึง คือยุคที่คนดีจะถูกเหยียบย่ำ คนชั่วจะได้รับยกย่อง” ซึ่งต้องเป็นผลของกรรมที่ได้ทำกันมา ทั้งกรรมชั่ว และทั้งกรรมดี […]

เมื่อเกิดเหตุร้ายแรง ย่อมต้องการคนกล้าหาญ

เมื่อเกิดเหตุร้ายแรง ย่อมต้องการคนกล้าหาญ

อุกฺกฏฺเฐ สูรมิจฺฉนฺติ อ่านว่า อุกกัดเถ สูระมิดฉันติ กล้า – มีสติ จึงเรียกว่า กล้าหาญ ถ้ากล้า โดยไม่มีสติกำกับ เขาเรียกว่า ความบ้าบิ่น ไม่ใช่ความกล้า คนเรามักจะเข้าใจผิด เอา ความบ้าบิ่นมาเป็นความกล้า คือเห็นใครทำอะไรได้ เกินกว่าคนสามัญ […]

เมื่อเกิดเรื่องราวลึกซึ้ง ย่อมต้องการบัณฑิต

เมื่อเกิดเรื่องราวลึกซึ้ง ย่อมต้องการบัณฑิต

อตฺเถ ชาเต จ ปณฺฑิตํ อ่านว่า อัดเถ ชาเต จะ ปันดิตัง มงคลข้อที่สอง คือ คบหาบัณฑิต บัณฑิต หมายถึงผู้รู้ดี รู้ชั่ว ผู้มีความรู้ มีสติปัญญาดี มีคุณธรรมสูง ประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ชอบ ที่ถูกต้อง […]

คนดี ย่อมหอมทวนไปทุกทิศ

คนดี ย่อมหอมทวนไปทุกทิศ

สพฺพา ทิสา สปฺปุริโส ปวายติ อ่านว่า สัพพา ทิสา สัปปุริโส ปะวายะติ ด้วยเหตุของการบันดาลที่เห็นกันนั้น มันเกิดจากความดีของคนเราที่ได้ทำความดี มีกุศลไว้แล้ว ส่วนสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือเทวดาอารักษ์ จะเป็นอุปกรณ์ของบุญได้สื่อออกมายังวัตถุมงคล ให้ช่วยปกป้องจากภัยอันตราย แต่ถ้าหากคนเราไม่มีบุญแล้ว สิ่งศักดิ์เหล่านี้ก็จะช่วยไม่ได้เลย เพราะฉะนั้นถ้าคนเรามั่นใจในหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า ว่าบุญเกิดจากการกระทำ เราก็ไม่ต้องไปให้ความสำคัญ […]

คนเราจะดี เพราะการกระทำ

คนเราจะดี เพราะการกระทำ

กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ อ่านว่า กัมมุนา โหติ พราหมะโณ คนไม่ใช่ต่ำทรามเพราะชาติกำเนิด แต่คนจะเป็นคนต่ำทราม ก็เพราะกรรมคือการกระทำคน มิใช่จะเป็นพราหมณ์เพราะชาติกำเนิด แต่เป็นพราหมณ์ คือผู้บริสุทธิ์ คือคนดีคนประเสริฐ ก็ เพราะกรรมคือการกระทำตามหลักการนี้ พระพุทธศาสนายึดเอาการกระทำ หรือความประพฤติ มาเป็นเครื่องแบ่งแยกมนุษย์ ในแง่ของความประเสริฐหรือความเลวทราม […]

กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย

กรรมไม่ดี ทำได้ง่าย

สุกรานิ อสาธูนิ จ อ่านว่า สุกะรานิ อะสาธูนิ จะ “กรรมไม่ดี กับบุคคลอันเป็นที่รัก” ” .. เป็นผู้ใหญ่ก็อย่าทำกรรมไม่ดี เป็นเด็กหรือเป็นหนุ่มเป็นสาวก็อย่าทำกรรมไม่ดี “แม้รักตัวเองก็อย่าทำกรรมไม่ดี จงทำแต่กรรมดี” หรือแม้รักแม่พ่อพี่น้องลูกหลานก็อย่าทำกรรมไม่ดี “ผลไม่ดีที่ผู้ทำได้รับนั้นจะทำให้บรรดาผู้ที่รักตน พลอยกระทบกระเทือนไปด้วย” ลองนึกถึงใจตนเอง “เมื่อเห็นผู้ที่ตนรักทำความไม่ดี […]

พึงบากบั่น ทำการงานให้มั่นคง

พึงบากบั่น ทำการงานให้มั่นคง

ทฬฺหเมนํ ปรกฺกเม อ่านว่า ทัฬหะเมนัง ปะรักกะเม จัดสรรทรัพย์ที่หามาได้ ด้วยสัมมาชีพ ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ขยันหมั่นทำงานเก็บออมทรัพย์ ดังผึ้งเก็บรวมน้ำหวานและเกสร ขั้นที่ ๒ เมื่อทรัพย์เก็บก่อขึ้นดังจอมปลวก พึงวางแผนใช้จ่าย คือ – ๑ ส่วน […]

จิตที่อบรมแล้ว ย่อมควรแก่การงาน

จิตที่อบรมแล้ว ย่อมควรแก่การงาน

จิตฺตํ ภาวิตํ กมฺมนิยํ โหติ อ่านว่า จิดตัง ภาวิตัง กัมมะนิยัง โหติ ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนช่างหม้อหรือลูกมือของช่างหม้อผู้ฉลาด เมื่อนวดดินดีแล้ว ต้องการภาชนะชนิดใดๆ พึงทำภาชนะชนิดนั้นๆ ให้สำเร็จได้ อีกนัยหนึ่ง เปรียบเหมือนช่างงาหรือลูกมือของช่างงาผู้ฉลาด เมื่อแต่งงาดีแล้ว ต้องการเครื่องงาชนิดใดๆ พึงทำเครื่องงาชนิดนั้นๆ […]

ผู้ขยัน ย่อมหาทรัพย์ได้

ผู้ขยัน ย่อมหาทรัพย์ได้

อุฏฺฐาตา วินฺทเต ธนํ อ่านว่า อุดฐาตา วินทะเต ธะนัง ความรู้สึกทางใจเป็นเครื่องวัดความรวยความจนที่เที่ยงตรงกว่าเงินทอง กล่าวเช่นนี้เพราะอะไร? เพราะถึงมีเงินน้อยแต่จ่ายเป็น เผื่อแผ่เป็น ก็ดูดีมีสง่าราศีเหมือนคนรวยได้ ตรงกันข้าม มีเงินมากแต่จ่ายไม่เป็น ทำบุญทำทานไม่ถูก ใจก็แผ่ “รังสีอัตคัด” ออกมาเหมือนขอทานได้ ใจเหมือนขอทานเป็นอย่างไร? คือใจที่มีแต่จะเอาเข้าตัว […]